Call center : (+66)2-419-7082 LINE ID : @radonco_siriraj
  • หน้าหลัก
  • บริการของเรา
  • ขั้นตอนการรักษา
    ทำไม ต้องเลือกเรา
    การรักษาที่ได้มาตรฐานระดับสากล
    ทีมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
    เครื่องมือและเทคโนโลยีในการรักษาที่ทันสมัย
    การพัฒนาทั้งด้านการรักษาและบริการอย่างต่อเนื่อง
    ขั้นตอนการรักษา
    • ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็ง
    • กระบวนการรักษา
    • แนะนำเครื่องมือและเทคนิคการรักษาผู้ป่วย
  • ข้อมูลสาขา
  • การศึกษา
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ดาวน์โหลด
    เอกสารแนะนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง
    • มะเร็งปากมดลูก
    • มะเร็งต่อมลูกหมาก
    • มะเร็งหลังโพรงจมูก
    • มะเร็งเนื้อเยื่อสมอง
ติดต่อเรา
20 ก.ย. 2567

Why regular breathing is important in 4D-CT?

ทำไมผู้ป่วยต้องหายใจให้สม่ำเสมอขณะจำลองการรักษาด้วยเอกเซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติหรือ 4D-CT simulation

 

เอกซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติ คือการใช้ข้อมูลภาพเอกซเรย์3มิติร่วมกับสัญญาณการหายใจของผู้ป่วย เพื่อนำไปสร้างภาพของก้อนมะเร็งและอวัยวะอื่นๆให้สัมพันธ์กับแต่ละช่วงของการหายใจเพื่อให้แพทย์สามารถทราบและกำหนดขอบเขตเพื่อประเมินการเคลื่อนไหวของก้อนมะเร็งในขณะทำการฉายรังสีได้อย่างถูกต้อง โดยส่วนใหญ่ทำในบริเวณช่องอกและช่องท้องโดยปกติการทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติมักเกิดสิ่งแปลกปลอมขึ้นบนภาพ ยกตัวอย่างเช่น ภาพเบลอ เห็นภาพของอวัยวะแบางเป็นชั้นๆ ซึ่งส่งผลให้แพทย์กำหนดขอบเขตการฉายรังสีรวมถึงการคำนวณปริมาณรังสีผิดไป โดยมีสาเหตุดังนี้

 

1.จากซอฟแวร์ของอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจจับการเคลื่อนไหวของผนังหน้าอกด้านนอก

2.วิธีการตั้งค่า เก็บข้อมูลและวิธีการสร้างภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติ

3.การบีบและคลายตัวของหัวใจ

4.การหายใจของผู้ป่วยที่ไม่สม่ำเสมอ

 

ซึ่งสาเหตุในข้อ1 และ2 สามารถแก้ไขได้จากการตั้งค่าการเก็บข้อมูลเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมส่วนสาเหตุข้อ3นั้นไม่สามารถแก้ไขได้เนื่องจากไม่สามารถควบคุมได้ ส่วนสาเหตุที่เกิดจากการที่ผู้ป่วยหายใจไม่สม่ำเสมอถือได้ว่าเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดสิ่งแปลกปลอมบนภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติเนื่องจากอวัยวะที่อยู่ในช่องอกและช่องท้องมีการเคลื่อนไหวตามการหายใจ ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยขอความร่วมมือให้ผู้ป่วยหายใจเข้า-ออกอย่างสม่ำเสมอ ไม่ช้าและไม่เร็วเกินไป

ตลอดการทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ซึ่งการหายใจที่ดีต้องหายใจได้อย่างน้อย 10ครั้งต่อนาที และอัตราเร็วในแต่ละช่วงการหายใจขณะที่เก็บข้อมูลภาพควรมีค่าสม่ำเสมอต่างกันไม่เกิน5วินาทีต่อ1รอบการหายใจก็จะสามารถช่วยลดสิ่งแปลกปลอมในภาพได้ โดยจะมีนักรังสีคอยช่วยควบคุมการหายใจ

 


ข่าวประชาสัมพันธ์
ดูทั้งหมด
ซีเซียม-137

ซีเซียม-137 ปริมาณรังสีและอาการแสดง

Why regular breathing is important in 4D-CT?

ทำไมผู้ป่วยต้องหายใจให้สม่ำเสมอขณะจำลองการรักษาด้วยเอกเซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติหรือ 4D-CT simulation

FNCA Workshop on Radiation Oncology 2024

Free Registration is NOW OPEN.

เปิดรับสมัครแพทย์ประจำบ้านประจำปี 2568

โรงพยาบาลศิริราช เปิดรับสมัครแพทย์ประจำบ้านสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา จำนวน 6 ตำแหน่ง โดยสามารถยื่นสมัครได้ตั้งแต่วันนี้ ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2567 หากมีข้อสงสัยสามารถติดต่อได้ที่เบอร์โทร 02-419-8674

International 3D-IGABT Conference 2024

งานประชุมอัพเดทความรู้การทำ Adaptive Brachytherapy จะจัดขึ้นในวันที่ 20-21 ธันวาคม พ.ศ. 2024 ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียนได้ทางลิงก์ด้านใน

ประกาศสำคัญสำหรับผู้ป่วยบัตรทอง

เพื่อให้การรักษาอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมกรณีผู้ป่วยโรคมะเร็ง หลังวันที่ 1 มกราคม 2568 เป็นต้นไป ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทุกท่านต้องมีใบส่งตัวจากต้นสังกัด

The 3rd International 3D-IGABT Conference

The 1st Siriraj International Conference on Particle Therapy (SiCOPT)

สถิติผู้ป่วยรังสีรักษา

Visiting Professor from The University of Manchester and The Christie NHS Foundation Trust Hospital

The 1st Siriraj International Conference on Particle Therapy (SiCOPT)

Fundamentals of Proton Therapy and BNCT

The 8th Liver Roundtable by the Asian Liver Radiation Therapy (ALRT) Special Interest Group

The 5th Siriraj-Varian IGABT School

เปิดงานใช้งานเครื่อง CT (Phillips Big-bore)

เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จำลองการรักษา

เปิดการใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคพร้อมสนามแม่เหล็กไฟฟ้านำวิถี MR-LINAC

เครื่องเร่งอนุภาคพร้อมสนามแม่เหล็กไฟฟ้านำวิถี MR-LINAC - เครื่องแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เปิดการใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคแบบหุ่นยนต์ Cyberknife

เครื่องเร่งอนุภาคแบบหุ่นยนต์ Cyberknife - แขนกลฉายรังสีด้วยความแม่นยำสูง

เปิดใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคพร้อมระบบ ExacTrac Dynamic

ระบบ ExacTrac Dynamic - นวัตกรรมเพื่อความแม่นยำในการฉายรังสี

Siriraj Big Story - MR LINAC เครื่องแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

MR LINAC เทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างเครื่องMRI เข้ากับเครื่องฉายรังสี ทำให้สามารถสร้างภาพที่มีรายละเอียดชัดเจน เพิ่มความแม่นยำในการรักษา

มารู้จักกับการฉายรังสีและเครื่องฉายรังสีที่เปิดใ้ห้บริการที่ศิริราชกัน

ปัจจุบัน สาขาวิชารังสีรักษามีเครื่องฉายรังสีให้บริการอยู่ 3 ประเภท (รวมทั้งหมด 8 เครื่อง) ได้แก่ เครื่องเร่งอนุภาค LINAC เครื่องเร่งอนุภาค  Cyberknife และเครื่องเร่งอนุภาค MR LINAC

รังสีศัลยกรรมคืออะไร

รังสีศัลยกรรมหรือการให้รังสีปริมาณสูงด้วยจำนวนครั้งเพียง1-5 ครั้ง เพื่อรักษาเนื้องอกหรือมะเร็ง

ไขความลับ...มะเร็งเต้านมกับรังสีรักษา " โดย รศ.พญ.จันจิรา เพชรสุขศิริ

รังสีรักษามีบทบาทสำคัญในการรักษามะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัด

ศิริราช 130 ปี – รังสีรักษาเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง

ผศ.นพ.พิทยา ด่านกุลชัย หัวหน้าสาขารังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา กับความมุ่งมั่นให้กระบวนการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเดินหน้าต่อไปได้

MR LINAC เทคโนโลยีสุดล้ำเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง l Smart Hospital

การฉายแสงรังสีน่ากลัวไหม? ปลอดภัยหรือเปล่า? มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง? เครื่อง MR LINAC เทคโนโลยีเพื่อผู้ป่วยมะเร็งใหม่ล่าสุดของศิริราช มีการทำงานอย่างไร? ใครมีสิทธิใช้เครื่องนี้ได้?

เปิดใช้งานเครื่องเร่งอนุภาค L7

เครื่องฉายรังสีตัวใหม่ล่าสุดของรังสีรักษาศิริราช

Siriraj Stereotactic Radiosurgery Scientific Conference

ขอเชิญผู้ที่สนใจเข้าร่วมประชุมวิชาการรังสีรักษาในหัวข้อ Siriraj Stereotactic Radiosurgery Scientific Conference ที่ห้องประชุมพิณพากย์พิทยาเภท ตึก 72ปี ชั้น 1

ซีเซียม-137

ซีเซียม-137 ปริมาณรังสีและอาการแสดง

Why regular breathing is important in 4D-CT?

ทำไมผู้ป่วยต้องหายใจให้สม่ำเสมอขณะจำลองการรักษาด้วยเอกเซเรย์คอมพิวเตอร์4มิติหรือ 4D-CT simulation

FNCA Workshop on Radiation Oncology 2024

Free Registration is NOW OPEN.

เปิดรับสมัครแพทย์ประจำบ้านประจำปี 2568

โรงพยาบาลศิริราช เปิดรับสมัครแพทย์ประจำบ้านสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา จำนวน 6 ตำแหน่ง โดยสามารถยื่นสมัครได้ตั้งแต่วันนี้ ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2567 หากมีข้อสงสัยสามารถติดต่อได้ที่เบอร์โทร 02-419-8674

International 3D-IGABT Conference 2024

งานประชุมอัพเดทความรู้การทำ Adaptive Brachytherapy จะจัดขึ้นในวันที่ 20-21 ธันวาคม พ.ศ. 2024 ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียนได้ทางลิงก์ด้านใน

ประกาศสำคัญสำหรับผู้ป่วยบัตรทอง

เพื่อให้การรักษาอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมกรณีผู้ป่วยโรคมะเร็ง หลังวันที่ 1 มกราคม 2568 เป็นต้นไป ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทุกท่านต้องมีใบส่งตัวจากต้นสังกัด

The 3rd International 3D-IGABT Conference

The 1st Siriraj International Conference on Particle Therapy (SiCOPT)

สถิติผู้ป่วยรังสีรักษา

Visiting Professor from The University of Manchester and The Christie NHS Foundation Trust Hospital

The 1st Siriraj International Conference on Particle Therapy (SiCOPT)

Fundamentals of Proton Therapy and BNCT

The 8th Liver Roundtable by the Asian Liver Radiation Therapy (ALRT) Special Interest Group

The 5th Siriraj-Varian IGABT School

เปิดงานใช้งานเครื่อง CT (Phillips Big-bore)

เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จำลองการรักษา

เปิดการใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคพร้อมสนามแม่เหล็กไฟฟ้านำวิถี MR-LINAC

เครื่องเร่งอนุภาคพร้อมสนามแม่เหล็กไฟฟ้านำวิถี MR-LINAC - เครื่องแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เปิดการใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคแบบหุ่นยนต์ Cyberknife

เครื่องเร่งอนุภาคแบบหุ่นยนต์ Cyberknife - แขนกลฉายรังสีด้วยความแม่นยำสูง

เปิดใช้งานเครื่องเร่งอนุภาคพร้อมระบบ ExacTrac Dynamic

ระบบ ExacTrac Dynamic - นวัตกรรมเพื่อความแม่นยำในการฉายรังสี

Siriraj Big Story - MR LINAC เครื่องแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

MR LINAC เทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างเครื่องMRI เข้ากับเครื่องฉายรังสี ทำให้สามารถสร้างภาพที่มีรายละเอียดชัดเจน เพิ่มความแม่นยำในการรักษา

มารู้จักกับการฉายรังสีและเครื่องฉายรังสีที่เปิดใ้ห้บริการที่ศิริราชกัน

ปัจจุบัน สาขาวิชารังสีรักษามีเครื่องฉายรังสีให้บริการอยู่ 3 ประเภท (รวมทั้งหมด 8 เครื่อง) ได้แก่ เครื่องเร่งอนุภาค LINAC เครื่องเร่งอนุภาค  Cyberknife และเครื่องเร่งอนุภาค MR LINAC

รังสีศัลยกรรมคืออะไร

รังสีศัลยกรรมหรือการให้รังสีปริมาณสูงด้วยจำนวนครั้งเพียง1-5 ครั้ง เพื่อรักษาเนื้องอกหรือมะเร็ง

ไขความลับ...มะเร็งเต้านมกับรังสีรักษา " โดย รศ.พญ.จันจิรา เพชรสุขศิริ

รังสีรักษามีบทบาทสำคัญในการรักษามะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัด

ศิริราช 130 ปี – รังสีรักษาเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง

ผศ.นพ.พิทยา ด่านกุลชัย หัวหน้าสาขารังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา กับความมุ่งมั่นให้กระบวนการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเดินหน้าต่อไปได้

MR LINAC เทคโนโลยีสุดล้ำเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง l Smart Hospital

การฉายแสงรังสีน่ากลัวไหม? ปลอดภัยหรือเปล่า? มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง? เครื่อง MR LINAC เทคโนโลยีเพื่อผู้ป่วยมะเร็งใหม่ล่าสุดของศิริราช มีการทำงานอย่างไร? ใครมีสิทธิใช้เครื่องนี้ได้?

เปิดใช้งานเครื่องเร่งอนุภาค L7

เครื่องฉายรังสีตัวใหม่ล่าสุดของรังสีรักษาศิริราช

Siriraj Stereotactic Radiosurgery Scientific Conference

ขอเชิญผู้ที่สนใจเข้าร่วมประชุมวิชาการรังสีรักษาในหัวข้อ Siriraj Stereotactic Radiosurgery Scientific Conference ที่ห้องประชุมพิณพากย์พิทยาเภท ตึก 72ปี ชั้น 1

ซีเซียม-137

ซีเซียม-137 ปริมาณรังสีและอาการแสดง

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
สาขาวิชารังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา ตึก 72 ปี ชั้น 1

เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10700

Call Center (+66)2-419-7082
LINE ID : @radonco_siriraj
Copyright © 2021 Siriraj. All right reserved.